การปกครอง

        การปกครอง

1.การปกครองส่วนท้องถิ่น

การปกครองส่วนท้องถิ่น คือหน่วยงานปกครองที่อยู่ใกล้ชิดกับประชาชนมากที่สุดรูปแบบหนึ่ง โดยปกติการปกครองส่วนท้องถิ่นจะเปิดโอกาสให้ประชาชนในเขตท้องถิ่นนั้น ๆ เลือกตั้งผู้แทนของตนเข้าไปทำหน้าที่เป็นผู้บริหารท้องถิ่น หรือเป็นสมาชิกสภาท้องถิ่นเพื่อเลือกผู้บริหารท้องถิ่นอีกทีหนึ่ง (เรียกว่าการเลือกตั้งโดยตรงหรือโดยอ้อมตามลำดับ) องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นจะมีอำนาจอิสระ (autonomy) ในการบริหารจากรัฐได้ในระดับหนึ่งตามขอบเขตที่กฎหมายกำหนด
การเลือกตั้งผู้บริหารท้องถิ่นโดยตรง คือการเปิดโอกาสให้ประชาชนในท้องถิ่นนั้น ๆ สามารถเลือกตั้งผู้บริหารองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในเขตท้องถิ่นของตนได้โดยตรง ส่วนการเลือกตั้งผู้บริหารท้องถิ่นโดยอ้อม สภาท้องถิ่นจะทำหน้าที่เลือกผู้บริหารท้องถิ่นแทนประชาชนในท้องถิ่น กล่าวคือ ประชาชนในท้องถิ่นจะทำหน้าที่เพียงแค่เลือกสมาชิกสภาท้องถิ่นเท่านั้น แล้วสมาชิกสภาท้องถิ่นจะทำหน้าที่ในการเลือกตั้งผู้บริหารท้องถิ่นอีกชั้นหนึ่ง

2.การปกครองส่วนภูมิภาค
ราชการส่วนภูมิภาค หมายถึงหน้าที่เดียวราชการของกระทรวง ทบวง กรมต่าง ๆ ซึ่งได้แบ่งแยกออกไปดำเนินการจัดทำตามเขตการปกครอง โดยมีเจ้าหน้าที่ของทางราชการส่วนกลาง ซึ่งได้รับแต่งตั้งออกไปประจำตามเขตการปกครองต่าง ๆ ในส่วนภูมิภาคเพื่อบริหารราชการภายใต้การบังคับบัญชาของราชการส่วนกลางโดยมีการติดต่อกันอย่างใกล้ชิดเพราะถือเป็นเพียง

3.การปกครองส่วนตำบล
องค์การบริหารส่วนตำบล มีชื่อย่อเป็นทางการว่า อบต. มีฐานะเป็นนิติบุคคล และเป็น ราชการบริหารส่วนท้องถิ่นรูปแบบหนึ่ง ซึ่งจัดตั้งขึ้นตามพระราชบัญญัติสภาตำบลและองค์การบริหารส่วนตำบล พ.ศ. 2537 และที่แก้ไขเพิ่มเติมจนถึงฉบับที่ 6 พ.ศ. 2552 โดยยกฐานะจากสภาตำบลที่มีรายได้โดยไม่รวมเงินอุดหนุนในปีงบประมาณที่ล่วงมาติดต่อกันสามปีเฉลี่ยไม่ต่ำกว่าปีละหนึ่งแสนห้าหมื่นบาท
ปัจจุบัน ณ วันที่ 6 พฤศจิกายน พ.ศ. 2558 มีองค์การบริหารส่วนตำบลทั้งสิ้น 5,334 แห่ง

องค์การบริหารส่วนตำบล มีชื่อย่อเป็นทางการว่า อบต. มีฐานะเป็นนิติบุคคล และเป็น ราชการบริหารส่วนท้องถิ่นรูปแบบหนึ่ง ซึ่งจัดตั้งขึ้นตามพระราชบัญญัติสภาตำบลและองค์การบริหารส่วนตำบล พ.ศ. 2537 และที่แก้ไขเพิ่มเติมจนถึงฉบับที่ 6 พ.ศ. 2552 โดยยกฐานะจากสภาตำบลที่มีรายได้โดยไม่รวมเงินอุดหนุนในปีงบประมาณที่ล่วงมาติดต่อกันสามปีเฉลี่ยไม่ต่ำกว่าปีละหนึ่งแสนห้าหมื่นบาท
ปัจจุบัน ณ วันที่ 6 พฤศจิกายน พ.ศ. 2558 มีองค์การบริหารส่วนตำบลทั้งสิ้น 5,334 แห่ง

4.ผู้ว่าราชการจังหวัด

รายนามผู้ว่าราชการและรักษาการผู้ว่ากรุงเทพมหานคร[แก้]

ลำดับรูปรายนามเลือกตั้งเริ่มวาระสิ้นสุดวาระที่มา
1118x118pxชำนาญ ยุวบูรณ์-1 มกราคม พ.ศ. 2516[3]22 ตุลาคม พ.ศ. 2516แต่งตั้ง
2Adth Visutyothapibal.pngอรรถ วิสูตรโยธาภิบาล-1 พฤศจิกายน พ.ศ. 2516[4]4 มิถุนายน พ.ศ. 2517แต่งตั้ง
375x75pxศิริ สันติบุตร-5 มิถุนายน พ.ศ. 2517[5]13 มีนาคม พ.ศ. 2518แต่งตั้ง
493x93pxสาย หุตะเจริญ-29 พฤษภาคม พ.ศ. 2518[6]9 สิงหาคม พ.ศ. 2518แต่งตั้ง
5ธรรมนูญ เทียนเงิน1.gifธรรมนูญ เทียนเงิน251810 สิงหาคม พ.ศ. 251829 เมษายน พ.ศ. 2520พรรคประชาธิปัตย์
689x89pxชลอ ธรรมศิริ-29 เมษายน พ.ศ. 252014 พฤษภาคม พ.ศ. 2522แต่งตั้ง
7Chaovat Sutlabha.jpgเชาวน์วัศ สุดลาภา-4 กรกฎาคม พ.ศ. 252216 เมษายน พ.ศ. 2524แต่งตั้ง
899x99pxพลเรือเอก เทียม มกรานนท์-28 เมษายน พ.ศ. 25241 พฤศจิกายน พ.ศ. 2527แต่งตั้ง
9100x100pxอาษา เมฆสวรรค์-6 พฤศจิกายน พ.ศ. 252713 พฤศจิกายน พ.ศ. 2528แต่งตั้ง
10Chamlong Srimuang 2008-12-27.jpgพลตรี จำลอง ศรีเมือง252814 พฤศจิกายน พ.ศ. 252814 พฤศจิกายน พ.ศ. 2532กลุ่มรวมพลัง
25337 มกราคม พ.ศ. 253322 มกราคม พ.ศ. 2535พรรคพลังธรรม
11Krisada aroon01.jpgร้อยเอก กฤษฎา อรุณวงษ์ ณ อยุธยา253519 เมษายน พ.ศ. 253518 เมษายน พ.ศ. 2539พรรคพลังธรรม
12พิจิตต รัตตกุล1.gifพิจิตต รัตตกุล25393 มิถุนายน พ.ศ. 253922 กรกฎาคม พ.ศ. 2543อิสระ
13Samak Sundaravej.JPGสมัคร สุนทรเวช254323 กรกฎาคม พ.ศ. 254328 สิงหาคม พ.ศ. 2547อิสระ
14Apirak talking.JPGอภิรักษ์ โกษะโยธิน254729 สิงหาคม พ.ศ. 254728 สิงหาคม พ.ศ. 2551พรรคประชาธิปัตย์
25515 ตุลาคม พ.ศ. 255119 พฤศจิกายน พ.ศ. 2551
15Sukhumbhand Paribatra01.jpgหม่อมราชวงศ์สุขุมพันธุ์ บริพัตร255211 มกราคม พ.ศ. 25529 มกราคม พ.ศ. 2556พรรคประชาธิปัตย์
255629 มีนาคม พ.ศ. 255618 ตุลาคม พ.ศ. 2559
16Assawin kwanmuang.jpgพล.ต.อ.อัศวิน ขวัญเมือง-18 ตุลาคม พ.ศ. 2559ปัจจุบันแต่งตั้ง

5.ข้อมูลจังหวัด

พื้นที่บริเวณกรุงเทพมหานครในปัจจุบัน เดิมเป็นที่ตั้งของเมืองธนบุรีศรีมหาสมุทร ชาวต่างชาติเรียกกันว่า "บางกอก" มาตั้งแต่สมัยกรุงศรีอยุธยา[8] มีความสำคัญเนื่องจากเป็นเส้นทางออกสู่ทะเลและติดต่อค้าขายกับอาณาจักรต่าง ๆ เป็นเมืองหน้าด่านขนอน คอยดูแลเก็บภาษีกับเรือสินค้าทุกลำที่ผ่านเข้าออก ส่วนบริเวณปากน้ำตรงอ่าวไทย เรียกกันว่า "นิวอัมสเตอร์ดัม" มีชุมชนใหญ่และโกดังของชาวต่างประเทศไว้สำหรับพักสินค้า ปัจจุบันคือพื้นที่บริเวณอำเภอพระประแดง[8]
ที่มาของคำว่า "บางกอก" นั้น มีข้อสันนิษฐานว่าอาจมาจากการที่แม่น้ำเจ้าพระยาคดเคี้ยวไปมา บางแห่งมีสภาพเป็นเกาะเป็นโคก จึงเรียกกันว่า "บางเกาะ" หรือ "บางโคก" หรือไม่ก็เป็นเพราะบริเวณนี้มีต้นมะกอกอยู่มาก จึงเรียกว่า "บางมะกอก" โดยคำว่า "บางมะกอก" มาจากวัดอรุณ ซึ่งเป็นชื่อเดิมของวัดดังกล่าว และต่อมากร่อนคำลงจึงเหลือแต่คำว่าบางกอก[8][9]

ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น